เรื่องที่ ๑๔ รสหวาน
ผมรู้สึกว่า h คนไทยชอบอาหารที่มีรสหวาน h
คนญี่ปุ่นส่วนใหญ่คิดว่าอาหารไทยเป็นอาหารเผ็ด
เพราะว่าอาหารเผ็ดดังมากในเมืองไทย
เช่น ต้มยํา ส้มตํา เป็นต้น
แต่จริงๆแล้วอาหารที่คนไทยกินเป็นประจํายังใส่นํ้าตาลมากนอกจากพริกและมะนาว
เท่าที่ผมเห็นเวลาคนไทยกินก๋วยเตี๋ยวก็ใส่นํ้าตาลแยอะมากคนไทยบางคนใส่นํ้าตาล๔-๕ช้อน
ผมคิดในใจว่าอาหารนี้ไม่ไช่ของหวานหรือไม่ไช่ขนม ทําไมจึงใส่นํ้าตาลแยอะมากเกินไป
ผมคิดว่าอาหารหวานไม่ใช่กับข้าว
นอกจากก๋วยเตี๋ยวเวลากินข้าวคนไทยก็ชอบใส่เครื่องปรุงหลายอย่าง
ตอนที่ผมอยู่ที่ญี่ปุ่นได้ยินจากทีวีหรือหนังสือพิมพ์ว่าเครื่องปรุงไม่ค่อยดีต่อร่างกายเราโดยเฉพาะกินนํ้าตาลแยอะเกินไป
ทําให้เป็นโรคเบาหวานง่าย
แล้วก็คนที่ชอบรสเค็มก็จะเป็นโรคหัวใจหรือโรคเกี่ยวกับเลือดง่าย
คนญี่ปุ่นบางคนคิดว่าโรคเบาหวานเป็นโรคคนรวยบางคนบอกว่าสาเหตุที่เป็นโรคเบาหวานคือกรรมพันธุ์
ไม่ค่อยเกี่่ยวกับอาหารที่ทุกวันกิน แต่บางคนคิดว่าไม่ใช่กรรมพันธุ์ ครอบครัว คือ
อยู่ด้วยกัน และ ส่วนมากของกินก็เหมือนกัน
ถ้าในครอบครัวมีคนที่เป็นโรคเบาหวานหลายคน
แสดงว่าครอบครัวนั้นกินอาหารที่ใส่นํ้าตาลมากเสมอ
ถ้าเปรียบเทียบคนไทยกับคนญี่ปุ่นผมมีความเชื่อว่า
คนไทยกินน้ําตาลมากกว่าคนญี่ปุ่น แต่ผมคิดว่าต้องนึกถึงอากาศของประเทศไทยด้วย
เมืองไทยอากาศร้อนมาก
แสดงว่า ต้องการนํ้าตาลให้แก่ร่างกายเรา ผมถามคนไทยว่า g
ใส่น้ําตาลเยอะเกินไปใช่ใหม h
เพื่อนคนไทยตอบว่า
g ไม่เป็นไรครับ เมืองไทยร้อนมากถึงแม้ว่าจะกินน้ําตาลเมยอะ
แต่นํ้าตาลสามารถละลายได้เร็วh
ผมไม่ได้เป็นหมอทําให้ผมไม่รู้ว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องจริงหรือเปล่า
นอกจากผมรู้สึกกลัวว่าน่าจะเป็นโรคเบาหวาน
สาเหตุที่ผมไม่ค่อยชอบใส่นํ้าตาล ก็เพราะว่าผมมีความรู้สึกชินกับรสจืด
เวลาผมสั่งเครื่องดื่มที่ร้านกาแฟ ผมบอกว่า g เอาชาเย็นไม่ใส่นํ้าตาล ไม่ใส่นม
ไม่ใส่มะนาวหรือกาแฟเย็นไม่ใส่นํ้าตาลไม่ใส่นมข้นh
เท่าที่ผมสังเกตดูพนักงานบางคนจะทําหน้าแปลกใจพนักงานคงคิดว่า
gเครื่องดื่มนั้นมันอร่อยหรือเปล่าh
แต่สําหรับผม
เครื่องดื่มแบบนี้อร่อยที่สุด
เทซึ